วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2555

การประยุกต์ใช้งานกราฟิก

คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้งานด้านการออกแบบ ซึ่งเมื่อเห็นคำว่า การออกแบบแน่นอนสำหรับคนที่ต้องการคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานด้านนี้ย่อมคิดถึงคำว่า CAD(Computer Aided Design)
หรือระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการออกแบบ ในงานทางด้านวิศวกรรม ประกอบไปด้วย DWG หรือ ภาพประกอบ 2 มิติ (2D) เป็นพื้นฐานหลัก โดยจะต้องทำความเข้าใจในส่วนประกอบดังนี้        
1. DWG (DRAWING) ภาพ - 2D (ภาพ 2 มิติ)            
มาตรฐานการ สื่อของ Drawing
 การมอง Top, Front, Side Views แต่ละมาตรฐาน
Auxiliary Viwes (มุมมองในส่วนที่สำคัญของ DWG โดยทำมุม 900 กับสายตา )
            3D (ภาพ 3 มิติ)
        2. MODELING COMMAND
            
Wire Frame Command (ตามมาตรฐานที่ใช้อ้างอิงกับ Software ส่วนใหญ่)
            
Surface and Solid Command (ตามมาตรฐานที่ใช้อ้างอิงกับ Software ส่วนใหญ่)
            
Other Edit (ตามมาตรฐานที่ใช้อ้างอิงกับ Software ส่วนใหญ่) Cad/Cam
3. การใช้คำสั่งประกอบการปฏิบัติงานจริง
            
ทำความเข้าใจกับลำดับขั้นตอน การจัดการของ 2D และ 3D
            
การตัดสินใจเลือก Surface Command และ Solid Command
            
การประยุกต์การทำงาน ให้เข้ากับบุคลิกส่วนตัว Concept

การออกแบบงานกราฟิกสำหรับเว็บ มีทั้งการนำภาพที่มีอยู่แล้วมาปรับแต่ง และการเริ่มต้นสร้างงานใหม่ โดยแต่ละรูปแบบมีลำดับการทำงานที่แตกต่างกันเล็กน้อย เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่เหมาะสมต่อการนำเสนอบนเว็บที่สองค์ประกอบของกราฟิก
การจัดองค์ประกอบของงานกราฟิก
1.จัดให้เป็นเอกภาพ ในที่นี้หมายถึง สิ่งที่ช่วยทำให้ชิ้นงานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ซึ้งต้องขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์นั้นๆ ความเป็นเอกภาพจะครอบคลุมถึงเรื่องของความคิดและการออกแบบ
2.
ความสมดุล ความสมดุลในงานกราฟิกเป็นเรื่องของความงาม ความน่าสนใจ เป็นการจัดสมดุลกันทั้งในด้านรูปแบบและสี มีอยู่ 2 ลักษณะที่สำคัญ
3.
การจัดให้มีจุดสนใจ ภายในเนื้อหาที่จำกัดจะต้องมีการเน้น การเน้นจะเป็น ณ จุดใดจุดหนึ่งที่เห็นว่ามีความสำคัญ อาจทำได้ด้วยภาพหรือข้อความก็ได้ โดยมีหลักว่า ความคิดเดียวและจุดสนใจเดียวการ มีหลายความคิด หรือมีจุดสนใจหลายจุด จะทำให้การออกแบบเกิดความล้มเหลวเพราะหาจุดเด่นชัดไม่ได้ ภาพรวมจะไม่ชัดเจน ขาดเอกลักษณ์ของความเป็นผู้นำในตัวชิ้นงาน

ที่มา :  http://wipaporn99.multiply.com/journal/item/15/15

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น